17 ส.ค. 2556

พยัญชนะ

พยัญชนะไทยมีทั้งหมด 44 รูป 

ก ข    ฆ  ง    ซ ฌ    ฐ ฑ    ต  
   บ     ฟ ภ    ล  ว    ห ฬ  
พยัญชนะมี 21 เสียง 
1.  
2. ข ฃ ค ต ฆ 
3.  
4.  
5. ฉ ช ฌ 
6. ซ ศ ษ ส 
7. ญ ย 
8. ฎ ด กับเสียง 
9. ฑ บางคำ 
10. ฏ ต 
11. ฐ ถ ฑ ฒ ท ธ 
12. น ณ 
13.  
14.  
15. ผ พ ภ 
16. ฝ ฟ 
17.  
18.  
19. ล ฬ 
20.  
21. ห ฮ 
22. เสียง อ ไม่นับ
เสียงพยัญชนะ 
พยัญชนะเสียงสูง : ข ฃ ฉ ฐ ถ ผ ฝ ศ ษ ส ห 
พยัญชนะเสียงกลาง : ก จ ฎ ฏ ด ต บ ป อ 
พยัญชนะเสียงต่ำ : ค ฅ ฆ ง ช ซ ฌ ญ ฑ ฒ ณ ท ธ น พ ฟ ภ ม ย ร ล ว ฬ ฮ
ไตรยางศ์ 
ไตรยางศ์ มาจากคำในภาษาสันสกฤตว่า ตฺรยฺ ซึ่งแปลว่า สาม รวมกับ อํศ ซึ่งแปลว่า ส่วน ดังนั้นไตรยางศ์ จึงแปลรวมกันได้ว่า สามส่วน การจัดหมวดหมู่ไตรยางศ์ 
เพื่อแบ่งพยัญชนะไทยออกเป็น 3 ประเภท ดังนี้
พยัญชนะเสียงสูงมี 11 ตัว เเละผันได้เสียงที่ 5, 2 เเละ 3 
อักษรสูง หมายถึง พยัญชนะที่ยังไม่ได้ผันวรรณยุกต์ แล้วมีเสียงอยู่ในระดับสูง มีทั้งหมด 11 ตัว 
วิธีท่องจำง่ายๆ : ผ ฝ ถ ฐ ข ฃ ศ ษ ส ห ฉ
 (ผี ฝาก ถุง ขาว สาร ให้ ฉัน)
พยัญชนะเสียงกลางมี 24 ตัว เเละผันได้ทั้งหมด 5 เสียง 
อักษรกลาง หมายถึง พยัญชนะที่ยังไม่ได้ผันวรรณยุกต์ แล้วมีเสียงอยู่ในระดับกลาง มีทั้งหมด 9 ตัว 
วิธีท่องจำง่ายๆ : ก จ ด ต ฎ ฏ บ ป อ
 (ไก่ จิก เด็ก ตาย เด็ก ตาย บน ปาก โอ่ง) การผันวรรณยุกต์กับอักษรกลางผันได้ครบ 5 เสียง ใช้วรรณยุกต์ได้ 4 รูป
พยัญชนะเสียงต่ำมี 9 ตัว เเละผันได้เสียงที่ 1, 3 เเละ 4 
อักษรต่ำ
 หมายถึง พยัญชนะที่ยังไม่ได้ผันวรรณยุกต์ แล้วมีเสียงอยู่ในระดับต่ำ มีทั้งหมด 24 ตัว 

• ต่ำคู่ มีเสียงคู่อักษรสูง 14 ตัว พ ภ ฟ ฑ ฒ ท ธ ค ต ฆ ซ ฮ ช ฌ 
• ต่ำเดี่ยว(ไร้คู่) 10 ตัว 
วิธีท่องจำง่ายๆ :
 ง ญ น ย ณ ร ว ม ฬ ล (งู ใหญ่ นอน อยู่ ณ ริม วัด โม ฬี โลก)
หน้าที่ของพยัญชนะ 
1. เป็นพยัญชนะต้นกา
2. เป็นสัตว์ใกล้สูญพันธ์ ก ป ส กล ส พ เป็นพยัญชนะต้น 
3. ทำหน้าที่เป็นพยัญชนะท้ายพยางค์ (ตัวสะกด) เกิ เป็ ชา หมา รั นี้ หนั  (พยัญชนะที่ขีดเส้นใต้เป็นพยัญชนะท้ายพยางค์หรือท้ายคำ เรียกว่าตัวสะกด)
4. ทำหน้าที่เป็นอักษรควบ
5. ทำหน้าที่เป็นอักษรนำ-อักษรตาม
6. ทำหน้าที่เป็นเป็นสระ (อ ว ย ร)
7. ทำหน้าที่เป็นตัวการันต์
พยัญชนะตัวสะกด
พยัญชนะตัวสะกดมีทั้งสิ้น 39 ตัวเท่านั้นที่สามารถใช้เป็นตัวสะกดได้ โดยแบ่งเป็น 8 เสียงเรียกว่ามาตราตัวสะกด 8 มาตราดังนี้ 

• แม่กก ออกเสียงสะกด  ซึ่งจะใช้พยัญชนะ ก ข ค ฆ เป็นตัวสะกด เช่น นก เลข โรค เมฆ 
• แม่กด ออกเสียงสะกด  ซึ่งจะใช้พยัญชนะ ด ต ถ ท ธ ฎ ฏ ฐ ฒ จ ช ซ ศ ษ ส เป็นตัวสะกด เช่น เปิด จิต รถ บาท โกรธ กฎ ปรากฏ เท็จ บงกช ก๊าซ อากาศ พิเศษ โอกาส อิฐ 
• แม่กบ ออกเสียงสะกด  ซึ่งจะใช้พยัญชนะ บ ป พ ภ ฟ เป็นตัวสะกด เช่น ดาบ บาป ภาพ กราฟ โลภ 
• แม่กน ออกเสียงสะกด  ซึ่งจะใช้พยัญชนะ น ร ญ ล ฬ เป็นตัวสะกด เช่น แขน คูณ บุญ อาหาร กล ปลาวาฬ 
• แม่กง ออกเสียงสะกด  ซึ่งจะใช้พยัญชนะ ง เป็นตัวสะกด เช่น จริง วิ่ง ลิง สิงห์ พิง มุ่ง สั่ง 
• แม่กม ออกเสียงสะกด  ซึ่งจะใช้พยัญชนะ ม เป็นตัวสะกด เช่น นม ดม ลม พรม สม ชิม แยม 
• แม่เกย ออกเสียงสะกด  ซึ่งจะใช้พยัญชนะ ย เป็นตัวสะกด เช่น ยาย เนย เคย เลย คุย 
• แม่เกอว ออกเสียงสะกด  ซึ่งจะใช้พยัญชนะ ว เป็นตัวสะกด เช่น สิว หิว วัว

พยัญชนะควบกล้ำ 
พยัญชนะควบกล้ำ คือ พยัญชนะ 2 ตัวประสมสระเดียวกันมี ร ล ว แบ่งเป็น 2 ชนิด คือ 
• ควบกล้ำแท้ เป็นพยัญชนะควบกล้ำที่ออกเสียงพร้อมกันทั้ง 2 ตัว เช่น 
ควบด้วย ร กรอบ กราบ เกรง ครอบครัว 
ควบด้วย ล กล้วย กลีบ ไกล แปลง 
ควบด้วย ว ไกว แกว่ง ควาย ขว้าง 

• ควบกล้ำไม่แท้ เป็นพยัญชนะที่เขียนเหมือนควบกล้ำแท้ ร แต่ออกเสียงเพียงตัวเดียว เช่น จริง สร้าง สระ เศร้า แสร้ง ศรี อ่านว่า (จิง) (ส้าง) (สะ) (เส้า) (แส้ง) (สี)

แบบทดสอบที่ ๓

๑.พยัญชนะเสียงสูงมีกี่ตัว? ผันได้กี่เสียง?
ก.๑๑ รูป ๑ เสียง              ข. ๑๒ รูป ๑ เสียง
ค.๑๑ รูป ๓ เสียง             ง. ๑๒ รูป ๓ เสียง
#ค.๑๑ รูป ๓ เสียง#

๒.ข้อใดจัดว่าเป็นหน้าที่ของพยัญชนะ?
ก.เป็นพยัญชนะต้นกา           ข.ทำหน้าที่เป็นอักษรควบ
ค.ทำหน้าที่เป็นตัวการันต์       ง.ถูกทุกข้อที่กล่าวมา
#ง.ถูกทุกข้อที่กล่าวมา#

๓.พยัญชนะตัวสะกดมีทั้งสิ้นกี่ตัว
ก.๙ ตัว                       ข.๑๙ ตัว
ค.๒๙ ตัว                     ง.๓๙ ตัว
#ง.๓๙ ตัว#
๔.พยัญชนะควบกล้ำแบ่งออกเป็นสองชนิดคือ?
ก.ควบกล้ำแท้-ควบกล้ำไม่แท้              ข.ควบกล้ำปลอม-ควบกล้ำจริง
ค.ควบกล้ำทางการ-ควบกล้ำไม่ทางการ           ง.ควบกล้ำกึ่งแท้-ควบกล้ำแท้
#ก.ควบกล้ำแท้-ควบกล้ำไม่แท้#

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

Comment

Flag Counter